วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

นามบัตรครับคร๊ะ

 

ใบงานที่1-3ครับท่าน!



แบบฟอร์มจองโรงแรมเอวาน่าครับผม^^


วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

คอมพิวเตอร์กับระบบสารสนเทศ^^

คอมพิวเตอร์กับระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ (Symbol) ต่างๆ ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนโดยมนุษย์ กระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ มีความเร็วและถูกต้องแม่นยำ สามารถรับข้อมูลประมวลผล แสดงผลลัพธ์ รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถ นำกลับมาใช้ได้อีก ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการด้วยกันคือ
1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่าง ซึ่งสามารถมองเห็นด้วยตา
และสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์เมาส์ คีย์บอร์ด
2. ซอฟแวร์ หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง(นามธรรม)เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเรียกขึ้นเพื่อสั่งให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟแวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องและคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เลย ซอฟแวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ซอฟแวร์ระบบ และ ซอฟแวร์ระยุกต์
 
 
3. บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการแบ่งออกได 4 ระดับ ดังนี้
3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรือระบบงานใหม่ ซึ่งทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของ ผู้ใช้โดยเขียนตามแผนฝังตามที่
นักวิเคราะห์ระบบ ได้กำหนดไว้
3.4 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้ งานโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่
สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
4. ข้อมูล ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อ

ผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการออกมาเราสามารถแบ่งระดับโครงสร้างข้อมูล ดังนี้

4.1 บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและสามารถนำไปใช้งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0

หรือ เลข 1 เท่านั้น

4.2 ไบต์ (Byte) หรืออักขระ ได้แก่ ตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น0, 1..... 9, A, B ,…., Z และเครื่องหมายต่างๆ

ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต

4.3 ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรืออักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อพนักงาน เป็นต้น
4.4 เรคคอร์ด (Record)ได้แก่ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง รวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล

เลขประจำตัว ยอดขาย เป็นต้น

4.5 ไฟล์ (Files) หรือแฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกันเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของพนักงานแต่ละคน

มารวมกันเป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูล เป็นต้น

4.6 ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกัน มารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลแผนกต่างๆ

มารวมเป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น

การวัดขนาดข้อมูล
ในการพิจารณาว่าข้อมูลนั้นมีขนาดมากน้อยเท่าไหร่ ให้ดูจากการวัดขนาดข้อมูล ต่อไปนี้
8 Bit =
1 Byte
1,024 Byte =
1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB =
1 MB (เมกะไบต์)
1,024 MB =
1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB =
1 TB (เทราไบต์)

วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แนะนำตัว นิสนึ่ง

                                 ประวัติส่วนตั๋วส่วนตัว

ชื่อ  วิชา    ธัมมารักขิตานนท์   

ชื่อเล่น  บาร์

เกิด 13  มีนาคม   2536

ที่อยู่  2/7 หมู่4  ถนน บางกรวย-ไทรน้อย  ต.บางสีทอง  อ. บางกรวย จ.นนทบุรี   11130

เบอร์ติดต่อ  0859032040

สถานะภาพ  แม่หม้าย

ศึกษาอยู่   PSC   การตลาด21/1  เอิ๊กๆๆๆๆๆๆ

ทำงานที่   บ้าน  อย่บ้าน ล้างจาน จร้า

ติดตาม ฉานเยอะๆๆน่ะจร้า  อิอิ